THE SMART TRICK OF ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา THAT NOBODY IS DISCUSSING

The smart Trick of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา That Nobody is Discussing

The smart Trick of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา That Nobody is Discussing

Blog Article

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

แม้วิกฤตการเรียนรู้จะเกิดขึ้นจริง แต่รายงานกลับเปรียบเปรยว่า วิกฤตนี้เป็นเสมือนวิกฤตที่ไม่มีใครมองเห็น เพราะไม่มีใครสนใจเท่าที่ควร อีกทั้ง ระบบการศึกษาส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เก็บข้อมูลในส่วนของการเรียนรู้ จนแทบเป็นไปไม่ได้ด้วยซ้ำที่จะสร้างแรงผลักดันอะไรขึ้นมาได้

งบประมาณ ทุกวันนี้การจัดสรรงบประมาณแก่โรงเรียนเป็นการให้ตามรายหัว ถ้ามีนักเรียนเยอะก็ได้เงินเยอะ ถ้ามีนักเรียนน้อยก็ได้น้อย ทั้งที่โรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหาหนักกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่เสียด้วยซ้ำ เช่น มีนักเรียนยากจนมากกว่า โอกาสในการระดมทรัพยากรก็ยากกว่า ยิ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล การซ่อม สร้าง ปรับปรุงโรงเรียนยิ่งยากลำบากและมีต้นทุนสูง ทั้งค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายของแรงงาน หากรัฐยังคงวางแผนงบประมาณเช่นเดิม หรือเลือกให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งประเทศ จะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจึงควรมอบให้โรงเรียนที่มีเด็กยากจน และประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรเสียก่อน

ความเหลื่อมล้ำของคุณภาพการศึกษาระหว่างโรงเรียนในเมือง-ชนบท:

จ.ส.ต.หญิง สุธัญญา แตงทอง นักศึกษา ‘โครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร’ จากโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนตะโกปิดทอง จ.

ผลงาน ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา รายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำของ กสศ.

สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ

ไม่ว่าจะประเทศไหน เชื้อชาติใด หรือมาจากชนชั้นใด ทุกคนล้วนมีความหวังและศรัทธาในพลังของการศึกษาที่จะช่วยเปลี่ยนชีวิต พ่อแม่และผู้ปกครองจำนวนมากพยายามส่งลูกเรียนให้จบ หรือเรียนให้สูงที่สุดเท่าที่จะทำได้ แม้ตนเองจะไม่เคยเข้าโรงเรียนก็ตามที

ปัญหาข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่ากระบวนการช่วยเหลือนักเรียนยากจนที่มีประสิทธิภาพอาจไม่ได้จบลงแค่การออกแบบเกณฑ์คัดกรอง หรือยกระดับระบบสารสนเทศของรัฐ แต่ยังมีอีกหลายมิติให้พัฒนาไปด้วยกัน ทั้งโครงสร้างขั้นพื้นฐาน การสร้างองค์ความรู้แก่คนทำงาน รวมถึงสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนหรือองค์กรอิสระในท้องถิ่น

นักเรียนส่วนหนึ่งอาศัยอยู่ในหอพักหรือมูลนิธิ ซึ่งบางแห่งไม่ประสงค์ขอรับเงินช่วยเหลือเด็กยากจน จึงไม่ให้ความร่วมมือในการสอบถามข้อมูลจากนักเรียน เป็นเหตุให้มีเด็กบางกลุ่ม ‘ตกสำรวจ’ จนข้อมูลคลาดเคลื่อนไป

โจทย์เรื่องความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นสิ่งที่สังคมไทยเผชิญมานับหลายสิบปี โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำระหว่างโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ไม่มีทีท่าว่าจะร่นระยะเข้าใกล้กันได้เลย กลับกัน มันค่อยๆ ทิ้งห่างมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งด้านพื้นที่ บุคลากร การจัดสรรงบประมาณที่คิดจากรายหัวนักเรียน และติดข้อจำกัดเรื่องกลไกกติกาที่ทำให้องค์กรท้องถิ่นไม่สามารถเข้ามาช่วยเหลือโรงเรียนในพื้นที่ตนเองได้มากขึ้น

โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาสําหรับนักเรียนในพืนที่ห่างไกลเป็นครูรุ่นใหม่เพือพัฒนาคุณภาพโรงเรียนของชุมชน (ครูรัก(ษ์)ถิ่น)

คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้ รายละเอียดคุกกี้ คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

คน เราพบว่ามีการโยกย้ายอัตรากำลังไม่พอเพราะไม่ใช่คนพื้นถิ่น การทำโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่นที่ให้ครูมีโอกาสอยู่ใกล้บ้านตัวเอง ไม่ย้ายไปที่อื่นจะทำให้อัตรากำลังครูในโรงเรียนขนาดเล็กยั่งยืนมากขึ้น เป็นวิธีการหนึ่งในการหาครูเข้าพื้นที่

Report this page